No Favorites




หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 937 (เล่ม 91)

สรณทุกนเหตุสเหตุกทุกนสรณทุกนเหตุนสเหตุกทุกะ
(๑๐๐. สรณทุกะ ๖. นเหตุสเหตุกทุกะ)
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
นเหตุสเหตุกบท
[๑๑๖๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม และไม่ใช่สเหตุกธรรม
ที่ไม่ใช่สรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม แต่เป็นสเหตุกธรรม
ที่เป็นสรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม และไม่ใช่สเหตุกธรรม
ที่ไม่ใช่สรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม แต่เป็นสเหตุก-
ธรรม ที่เป็นอรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๑๖๔] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
นเหตุอเหตุกบท
[๑๑๖๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม และไม่ใช่อเหตุกธรรม
ที่ไม่ใช่สรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม แต่เป็นอเหตุกธรรม
ที่เป็นอรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

937
หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 938 (เล่ม 91)

การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๑๖๖] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
สรณทุกนเหตุสเหตุกทุกนสรณทุกนเหตุนสเหตุทุกทุกะ จบ
สรณทุกจูฬันตรทุกนสรณทุกจูฬันตรทุกะ
(๑๐๐. สรณทุกะ ๗.-๑๓. จูฬันตรทุกะ)
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. อารัมมณปัจจัย
อัปปัจจยบท
[๑๑๖๗] ๑. อัปปัจจยธรรม ที่เป็นอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่
ธรรมทีไม่ใช่อัปปัจจยธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย
อสังขตบท
๑. อสังขตธรรมที่เป็นอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่ไม่ใช่อัปปัจจยธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย
สนิทัสสนบท
๑. สนิทัสสนธรรม ที่เป็นอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่ไม่ใช่สนิทัสสนธรรม ที่ไม่ใช่อรณธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย

938
หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 939 (เล่ม 91)

ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สนิทัสสนธรรม ที่
ไม่ใช่สรณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
สรณทุกจูฬันตรทุกนสรณทุกจูฬันตรทุกะ จบ
สรณทุกอาสวทุกนสรณทุกโนอาสวทุกะ
(๑๐๐. สรณทุกะ ๑๔. อาสวทุกะ)
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
อาสวบท
[๑๑๖๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม
อาศัยอาสวธรรม ที่เป็นสรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
๒. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่ไม่ใช่อรณธรรม
อาศัยอาสวธรรม ที่เป็นสรณธรรม ฯลฯ
๓. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม และ
ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ไม่ใช่อรณธรรม อาศัยอาสวธรรม ที่เป็น
สรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
โนอาสวบท
๑. ธรรมที่ไม่ใช่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่ไม่ใช่
อรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เป็นสรณธรรม ฯลฯ
มี ๑ วาระ.
สรณทุกอาสวทุกนสรณทุกโนอาสวทุกะ จบ

939
หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 940 (เล่ม 91)

สรณทุกสาสวทุกนสรณทุกนสาสวทุกะ
(๑๐๐. สรณทุกะ ๑๕ สาสวทุกะ)
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
สาสวบท
[๑๑๖๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่สาสวธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม
อาศัยสาสวธรรม ที่เป็นอรณธรรม ฯลฯ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
อนาสวบท
๑. ธรรมที่ไม่ใช่อนาสวธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม
อาศัยอนาสวธรรม ที่เป็นอรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑
วาระ.
ในปัจจัยทั้งปวง พึงให้พิสดารโดยวิธีนี้.
ฯลฯ
สรณทุกสาสวทุกนสรณทุกนสาสวทุกะ จบ

940
หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 941 (เล่ม 91)

สรณทุกสารัมมณทุกนสรณทุกนสารัมมณทุกะ
(๑๐๐. สรณทุกะ ๕๕. สารัมมณทุกะ)
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
สารัมมณบท
[๑๑๗๐] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่สารัมมณธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม
อาศัยสารัมมณธรรม ที่เป็นสรณธรรม ฯลฯ
๒. ธรรมที่ไม่ใช่สารัมมณธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม
อาศัยสารัมมณธรรม ที่เป็นอรณธรรม ฯลฯ
ฯลฯ
สรณทุกสารัมมณทุกนสรณทุกนสารัมมณทกะ จบ

941
หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 942 (เล่ม 91)

สรณทุกทัสสเนนปหาตัพพทุกะ
นสรณทุกนทัสสเนนปหาตัพพทุกะ
(๑๐๐. สรณทุกะ ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ)
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
ทัสสเนนปหาตัพพบท
[๑๑๗๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่ไม่ใช่
สรณธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เป็นสรณธรรม ฯลฯ
มี ๑ วาระ
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
นทัสสเนนปหาตัพพบท
๑. ธรรมที่ไม่ใช่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม ที่ไม่ใช่อรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม ที่เป็นอรณธรรม ฯลฯ
ฯลฯ
สรณทุกทัสสเนนปหาตัพพทุกนสรณทุกนทัสสเนนปหาตัพพทุกะ จบ

942
หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 943 (เล่ม 91)

สรณทุกสอุตตรทุกนสรณทุกนสอุตตรทุกะ
(๑๐๐. สรณทุกะ ๙๙. สอุตตรทุกะ)
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
สอุตตรบท
[๑๑๗๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่สอุตตรธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม
อาศัยสอุตตรธรรม ที่เป็นอรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑.เหตุปัจจัย
อนุตตรบท
๑. ธรรมที่ไม่ใช่อนุตตรธรรม ที่ไม่ใช่สรณธรรม
อาศัยอนุตตรธรรม ที่เป็นอรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
สหชาตวาระก็ดี ฯลฯ ปัญหาวาระก็ดี พึงให้พิสดาร.
อนุโลมปัจจนียทุกทุกปัฏฐาน จบ

943
หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 944 (เล่ม 91)

อรรถกถาอนุโลมปัจจนียปัฏฐาน
บัดนี้ เพื่อจะแสดงปัฏฐานที่ชื่อว่า อนุโลมปัจจนียะ เพราะเป็นทั้ง
อนุโลมและปัจจนียะแห่งธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจการไม่ปฏิเสธปัจจัยธรรม
ในธรรมทั้งหลาย มีกุศลเป็นต้น (แต่) ปฏิเสธความเป็นกุศลเป็นต้น แห่ง
ปัจจยุปบันธรรม พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงเริ่มคำว่า กุสลํ ธมฺมํ ปฏิจฺจ
นกุสโล ธมฺโม อุปฺปชฺชติ เหตุปจฺจยา เป็นต้น.
บรรดาบทเหล่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตความที่กุศลเป็น
ปัจจัย ด้วยคำว่า กุสลํ ธมฺมํ ปฏิจฺจ ทรงห้ามความเกิดขึ้นแห่งกุศลด้วย
คำว่า นกุสโล ธมฺโม อุปฺปชฺชติ เพราะฉะนั้น พระองค์จึงทรงแสดง
วิสัชนาไว้โดยนัยเป็นต้นว่า รูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน อาศัยกุศลขันธ์เกิดขึ้น
วิสัชนานั้นทั้งหมด ผู้ศึกษาพึงตรวจดูบาลีแล้วกำหนดดูให้ดี ก็วิสัชนาใด
เหมือนกับปัจจัยใด มีได้ในปัจจัยใด และวิสัชนาเหล่าใด มีการกำหนดวิธี
นับในปัจจัยเหล่าใด ทั้งหมดนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้แล้วในบาลี.
เพราะฉะนั้นในอธิการนี้จึงมีเนื้อความอยู่ในบาลีนั่นเอง. ก็ในอธิการนี้ฉันใด
แม้ในทุกปัฏฐานเป็นต้นก็ฉันนั้น
นัย ๖ ในธัมมานุโลมปัจจนียปัฏฐาน อันท่านแสดงไว้ด้วยคาถา
ที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาว่า

944
หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 945 (เล่ม 91)

นัย ๖ ในอนุโลมปัจจนียปัฏฐาน
คือ ติกปัฏฐานอันประเสริฐ ทุกปัฏฐาน
อันสูงสุด ทุกติกปัฏฐาน ติกทุกปัฏฐาน
ติกติกปัฏฐาน และทุกทุกปัฏฐาน อัน
ลึกซึ้งนัก ดังนี้
เป็นอันข้าพเจ้าแสดงแล้วด้วยคำมีประมาณเท่านี้ ก็ในอธิการนี้
ผู้ศึกษาพึงทราบอนุโลมปัจจนียปัฏฐาน อันประดับด้วยนัย ๒๔ โดยปริยาย
หนึ่งคือ ในปัฏฐานหนึ่ง ๆ ว่าด้วยอำนาจของปัจจัยมีอย่างละ ๔ นัย มีอนุ-
โลมนัยเป็นต้น.
อรรถกถาอนุโลมปัจจนียปัฏฐาน จบ

945
หมวด/เล่ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ – หน้าที่ 946 (เล่ม 91)

[หน้าเปล่า]

946